1) 1. ข้อใดต่อไปนี้บอกความหมายของคำว่า“นาฏยศัพท์”ได้ถูกต้อง  a) ก ศัพท์เฉพาะทางนาฏศิลป์ b) ข ใช้ในการแสดงอารมณ์ c) ค เป็นศิลปะแห่งการฟ้อนรำ d) ง นาฏศิลป์ที่กำเนิดท่าทางมาจากธรรมชาติ 2) นาฏศัพท์แบ่งออกได้กี่หมวด a) ก 2 หมวด   b) ข. 3 หมวด c) ค. 4 หมวด d) ง. 5 หมวด 3) นาฏยศัพท์ใดจัดอยู่ในหมวดกริยาศัพท์ a) ก จีบหงาย กระดกเท้า   b) ข. กดไหล่ หลบเข่า c) ค. จีบยาว เดินมือ d) ง. วงบน ประเท้า 4) ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง a) ก. ท่าตัวเรา จีบมือซ้ายอยู่ที่ระดับอก b) ข. วงล่าง ปลายนิ้วมืออยู่ระดับเอว c) ค. วงบน อยู่ในระดับหัวไหล่ d) ง. การจีบ ใช้ปลายนิ้วหัวแม่มือจรดกับข้อแรกของนิ้วชี้ 5) ภาษาท่า ท่าปฏิเสธปฏิบัติอย่างไร a) ก. มือทั้งสองประสานทาบกันที่อก b) ข. ตั้งมือด้านหน้าแล้วสั่นปลายมือพร้อมทั้งส่ายหน้า c) ค. มือใดมือหนึ่งจีบเข้าหาตัวแล้วม้วนออกแบมือตั้งวง d) ง. ใช่ฝ่ามือถูที่หลังใบหูแล้วกระชากมือลง 6) ข้อใดคือกิริยาที่ทำต่อจากการประเท้า a) ก. ก้าวหน้า   b) ข. ก้าวข้าง c) ค. ยกเท้า d) ง. กระทุ้งเท้า 7) การนำมือทั้งสองข้างมาทาบไขว้ไว้ที่ระดับอก คือท่าใด a) ก. ท่าดีใจ   b) ข. ท่าเสียใจ c) ค. ท่ารัก d) ง. ท่าตัวเรา 8) “ใช้มือซ้ายจีบคว่ำแล้วดึงมือมาที่ระดับปาก”จากข้อความข้างต้นเป็นวิธีการปฏิบัติของภาษาท่าในท่าใด a) ก. ท่ากิน   b) ข. ท่ายิ้ม c) ค. ท่าอาย   d) ง. ท่าดม 9) ข้อใดต่อไปนี้บอกความหมายของคำว่า “ภาษาท่า”  a) ก. การแสดงท่าทางและแสดงอารมณ์แทนคำพูด b) ข. ศัพท์เฉพาะที่รู้กันในวงการนาฏศิลป์ c) ค. เป็นนามศัพท์ที่เรียกชื่อลักษณะท่ารำ d) ง. นาฏศิลป์เป็นศิลปะแห่งการละครและร่ายรำ 10) ข้อใดกล่าวถูกต้อง a) ก. นาฏศัพท์แบ่งออกเป็น 4 หมวด b) ข. วงกลางตัวพระกับตัวนางแตกต่างกัน c) ค. การตั้งวงมี 3 ระดับ d) ง. กริยาศัพท์เป็นความหมายของภาษท่า 11) “จีบหงาย ยกจีบไปด้านข้างแล้วหันจีบเข้าหาแง่ศีรษะ จากข้อความข้างต้นคือวิธีการปฏิบัติของนาฏศัพท์ใด” a) ก. จีบปรกหน้า   b) ข. จีบปรกข้าง c) ค. จีบยาว d) ง. จีบล่อแก้ว 12) ท่าตั้งวงใดของตัวพระและตัวนางที่ปฏิบัติแตกต่างกัน a) ก. วงบน   b) ข. วงกลาง c) ค. วงล่าง d) ง. ถูกทุกข้อ 13) การจีบ มีกี่ประเภท อะไรบ้าง a) ก. 2 ประเภท จีบหงาย จีบคว่ำ b) ข. 3 ประเภท จีบหงาย จีบคว่ำ จีบล่อแก้ว c) ค. 4 ประเภท จีบหงาย จีบคว่ำ จีบปรกข้าง จีบส่งหลัง d) ง. 5 ประเภท จีบหงาย จีบคว่ำ จีบปรกข้าง จีบปรกหน้า จีบส่งหลัง   e)   14) อนักเรียนรู้สึกผิดหวัง นักเรียนจะแสดงท่าทางภาษาท่า ออกมาตามข้อใด a) ก. ท่าปฏิเสธ   b) ข. ท่าโกรธ c) ค. ท่าร้องไห้ d) ง. ท่ายิ้ม 15) ภาษาท่า ท่าตัวเรา มีวิธีการปฏิบัติอย่างไร a) ก. ใช่ฝ่ามือซ้ายแตะระหว่างแก้มกับใบหู b) ข. ใช้มือซ้ายจีบที่ระดับปาก c) ค. ใช้มือซ้ายจีบเข้าหาที่ระดับอก d) ง. ใช้มือทั้งสองประสานทาบกันที่ระดับอก 16) ยกมือข้างใดข้างหนึ่งขึ้นระดับสายตาในลักษณะแบมือแล้วสับ สันมือเล็กน้อย คือวิธีการปฏิบัติของภาษาท่าในท่าใด  a) ก. ท่าเชิญ   b) ข. ท่าเธอ c) ค. ท่าท่าน d) ง. ท่าไป 17) การก้าวเท้าใดเท้าหนึ่งไปข้างหน้า น้ำหนักอยู่ที่เท้าที่ก้าว แล้วใช้จมูกเท้าหลังแตะที่พื้นเบาๆคือเท่าใด a) ก. ก้าวหน้า   b) ข. ก้าวข้าง c) ค. กระดกเท้า d) ง. กระทุ้งเท้า 18) ข้อใดกล่าวถูกต้อง a) ก. การตั้งวงของตัวพระและตัวนางเหมือนกันทุกท่า b) ข. ท่านาฏศัพท์เบ็ดเตล็ด มี จีบยาว เดินมือ นางโรงนางตลาด นางกษัตริย์   c) ค. ท่ากระดุ้งเท้าคือ ภาษาท่านาฏศิลป์ d) ง. ถูกทุกข้อ 19) ใช้ฝ่ามือถูที่หลังใบหูแล้วกระชากมือลง คือวิธีการปฏิบัติภาษาท่าใด a) ก. ท่าโกรธ   b) ข. ท่าร้องไห้ c) ค. ท่าปฏิเสธ d) ง. ท่าอาย 20) จากภาพคือท่าใด a) ก. ตัวเรา b) ข. ท่าอาย c) ค. ท่าปฏิเสธ d) ง. ท่ารัก 21) จากภาพคือท่าใด a) ก. ตัวเรา b) ข. ท่าอาย c) ค. ท่าปฏิเสธ d) ง. ท่ารัก 22) จากภาพคือท่าใด a) ก. ตัวเรา b) ข. ท่าอาย c) ค. ท่าปฏิเสธ d) ง. ท่ารัก 23) จากภาพคือท่าใด a) ก. ตัวเรา b) ข. ท่าอาย c) ค. ท่าปฏิเสธ d) ง. ท่าไป 24) กรีดนิ้วทั้งสามให้ตึง หักข้อมือเข้าหาลำแขน แต่คว่ำปลายจีบลงจากข้อความข้างต้นคือวิธีการปฏิบัติของนาฏศัพท์ใด a) ก. จีบส่งหลัง   b) ข. จีบคว่ำ c) ค. จีบปรกหน้า d) ง. จีบหงาย 25) กรีดนิ้วทั้งสามให้ตึง หักข้อมือเข้าหาลำแขน แต่ยกจีบขึ้นมาหันจีบเข้าหาหน้าผาก จากข้อความข้างต้นคือวิธีการปฏิบัติของนาฏศัพท์ใด a) ก. จีบส่งหลัง   b) ข. จีบคว่ำ c) ค. จีบปรกหน้า d) ง. จีบหงาย 26) กรีดนิ้วทั้งสามให้ตึง หักข้อมือเข้าหาลำแขน แต่ส่งจีบโดยตึงแขนที่ส่งไปด้านหลัง จากข้อความข้างต้นคือวิธีการปฏิบัติของนาฏศัพท์ใด a) ก. จีบส่งหลัง   b) ข. จีบคว่ำ c) ค. จีบปรกหน้า d) ง. จีบหงาย 27) กรีดนิ้วทั้งสามให้ตึง หักข้อมือเข้าหาลำแขน หงายปลายจีบขึ้น จากข้อความข้างต้นคือวิธีการปฏิบัติของนาฏศัพท์ใด a) ก จีบส่งหลัง   b) ข จีบคว่ำ c) ค. จีบปรกหน้า d) ง. จีบหงาย 28) กรีดนิ้วทั้งสามให้ตึง หักข้อมือเข้าหาลำแขน ยกจีบไปด้านข้างแล้วหันจีบเข้าหาศีรษะ จากข้อความข้างต้นคือวิธีการปฏิบัติของนาฏศัพท์ใด a) ก. จีบส่งหลัง   b) ข. จีบคว่ำ c) ค. จีบปรกข้าง d) ง. จีบหงาย 29) ตัวพระปลายนิ้วอยู่แง่ระดับศีรษะ ส่วนตัวนางปลายนิ้วจะอยู่ระดับหางคิ้ว จากข้อความข้างต้นคือวิธีการปฏิบัติของนาฏศัพท์ใด a) ก. วงบน   b) ข. วงกลาง c) ค. วงล่าง   d) ง. ถูกทุกข้อ

1/6 นาฏยศัพท์ ภาษาท่า

Papan Peringkat

Gaya visual

Pilihan

Berganti templat

Pulihkan simpan otomatis: ?