1) ถ้าเจาะเลือดครั้งเดียว เพื่อวินิจฉัยการติดเชื้อควรตรวจหาอะไร a) Specific IgM b) Specific IgG c) Total antibody d) Specific IgM และ Specific IgG 2) เทคนิคทดสอบของ Widal test และ Weil felix test คือข้อใด a) Direct agglutination  b) Indirect hemagglutination c) Reverse passive latex agglutination d) Direct hemagglutination 3) Significant titer ของ MAT titer และ Melioid titer เท่ากับเท่าใด (ตามลำดับ) a) 50, 160 b) 80, 100 c) 100, 160 d) 160, 100 4) Significant titer ของ typhoid O titer และ typhoid H titer เท่ากับเท่าใด (ตามลำดับ) a) 40, 80 b) 50, 100 c) 80, 160 d) 160, 160 5) Significant titer ของ Anti-OX2, Anti-OX19, Anti-OX-K titer เท่ากับเท่าใด (ตามลำดับ) a) 80, 80, 80 b) 80, 160, 160 c) 80, 160, 320 d) 160, 160, 320 6) Ag ของเชื้อ Proteus vulgaris ในการทดสอบ Weil felix test คือข้อใด a) OX-2  b) OX-K c) OX-2 และ OX-19 d) OX-19 7) Ag ของเชื้อ Proteus mirabilis ในการทดสอบ Weil felix test คือข้อใด a) OX-2  b) OX-K c) OX-2 และ OX-19 d) OX-19 8) วิธีมาตรฐานทาง serology ในการตรวจ Leptospirosis คือข้อใด a) Microscopic agglutination test (MAT) b) Macroscopic slide agglutination test (MSAT) c) Indirect immunofluorescence (IFA) d) Complement fixation test 9) วิธีมาตรฐานทาง serology ในการตรวจ rickettsiosis คือข้อใด a) Indirect immunofluorescence (IFA) b) Direct immunofluorescence (DFA) c) Direct agglutination d) Complement fixation test 10) วิธี cold agglutination test อาศัยเทคนิคทดสอบใด a) Complement fixation test b) Direct hemagglutination c) Indirect hemagglutination d) Indirect immunofluorescence (IFA) 11) วิธีมาตรฐานทาง serology ในการตรวจการติดเชื้อ M.pneumoniae คือข้อใด a) Complement fixation test b) Indirect immunofluorescence (IFA) c) Direct hemagglutination d) Indirect hemagglutination 12) การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการที่แน่นอนในการตรวจ leptospirosis ระยะ septicemia หรือระยะ 1 สัปดาห์แรก คือข้อใด a) Blood culture b) Urine culture c) MAT 13) การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการที่แน่นอนในการตรวจ leptospirosis ระยะ leptospiuria หรือระยะหลัง 1 สัปดาห์ คือข้อใด a) Urine Culture และ MAT b) Blood culture c) CSF culture 14) Cold agglutination test ใช้ทดสอบการติดเชื้อใด และเทคนิคทดสอบคือคือข้อใด a) M.pneumoniae, Direct hemagglutination b) M.pneumoniae, Indirect immunofluorescence (IFA) 15) การแยกเก็บซีรั่มและนำส่งเพื่อในการ ตรวจ cold agglutination ห้องปฏิบัติการควรเก็บสิ่งตัวอย่างที่ 37๐C และปั่นแยกซีรัมทันที แต่ทำไม่ได้ควรทำอย่างไรเพื่อหลีกเลี่ยง false negative a) อุ่นสิ่งตัวอย่างที่ 37 ๐C ก่อนที่จะแยกซีรัมออกจากเซลล์ b) ปั่นแยกซีรัมด้วยเครื่องปั่นเย็น 4 oC 16) สาเหตุของ post streptococcal infection: Rheumatic fever คือข้อใด a) Anti-M protein cross-reacts to host tissue  b) Deposition of Ag-Ab complex at basement membrane of glomeruli 17) สาเหตุของ post streptococcal infection: Acute glomerulonephritis คือข้อใด a) Anti-M protein cross-reacts to host tissue  b) Deposition of Ag-Ab complex at basement membrane of glomeruli 18) Antibody ต่อ influenzaที่เป็น Protective antibody คือข้อใด a) Anti-hemagglutinin b) Anti-neuraminidase 19) การหลบหลีกภูมิคุ้มกันของ influenza virus คือข้อใด a) Antigenic drift b) Antigenic shift c) Antigenic drift และ Antigenic shift d) Decrease expression of MHC class II 20) วิธีมาตรฐานทาง serology ในการตรวจการติดเชื้อไวรัสหัดเยอรมัน คือข้อใด a) HI test b) Indirect ELISA c) Immunochromatography 21) การตรวจหัดเยอรมันในเด็กแรกคลอดที่เหมาะสมที่สุด ควรตรวจหาอะไร a) Specific IgM b) Specific IgG c) Rubella HI titer 22) จงแปลผล Dengue immunochromatography NS1Ag positive, Anti-DEN IgM positive,Anti-DEN IgG negative a) Suspected to Primary dengue infection b) Suspected to Secondary dengue infection c) No dengue infection 23) จงแปลผล Dengue immunochromatography: NS1Ag positive, Anti-DEN IgM positive, Anti-DEN IgG positive a) Suspected to Primary dengue infection b) Suspected to Secondary dengue infection c) No dengue infection 24) วิธีการทดสอบใด เหมาะสมสำหรับการตรวจ syphilis ระยะที่ 1 a) Macroscopic examination b) DFA-TP c) VDRL d) TPHA 25) วิธีการทดสอบใด เหมาะสมที่สุดสำหรับการตรวจ syphilis ระยะที่ 3 หรือ latent syphilis a) DFA-TP b) VDRL c) TPHA d) VDRL และ TPHA 26) วิธีการทดสอบใด เหมาะสมที่สุดสำหรับการตรวจ neurosyphilis a) CSF-VDRL b) CSF-RPR c) CSF-FTA-ABS 27) ข้อใดเป็นการทดสอบที่เป็น non treponemal test (หรือ reagin test) สำหรับ syphilis a) RPR  b) TPHA c) FTA-ABS d) TPI 28) ข้อใดเป็นการทดสอบที่เป็น treponemal test (หรือ non-reagin test) สำหรับ syphilis a) VDRL b) RPR c) CMIA d) USR 29) การตรวจ Syphilis ด้วยวิธี VDRL และ RPR เทคนิคทดสอบคือข้อใด a) Direct hemagglutination b) Flocculation c) Indirect hemagglutination d) Neutralization 30) การตรวจ Syphilis ด้วยวิธี TPHA เทคนิคทดสอบคือข้อใด a) Direct hemagglutination b) Flocculation c) Indirect hemagglutination d) Neutralization 31) การตรวจติดตามการรักษาซิฟิลิส คือข้อใด a) RPR titer , VDRL titer b) Qualitative VDRL , Quantitative RPR c) TPHA, TPHA titer 32) ในกรณีการตรวจซิฟิลิสแบบดั้งเดิม (traditional sequence algorithm) ถ้าตรวจ VDRL หรือ RPR ได้ผล reactive ควรทำอย่างไรต่อไป a) ตรวจหา VDRL titer หรือ RPR titer   b) ตรวจหา specific treponemal Ab c) ตรวจหา VDRL titer หรือ RPR titer และ ตรวจหา specific treponemal Ab 33) ในกรณีการตรวจซิฟิลิสแบบย้อนทาง (Reverse sequence algorithm) ถ้าตรวจ CMIA ได้ผล reactive ควรทำอย่างไรในลำดับต่อไป a) ตรวจหา VDRL titer หรือ RPR titer  b) ตรวจซ้ำด้วยวิธี EIA หรือ CMIA เพื่อยืนยันผล c) ตรวจหา specific treponemal Ab ด้วย TPHA หรือ TPPA d) รายงานผลว่าผู้ป่วยเป็น ซิฟิลิส 34) จงแปลผล: HBsAg positive, HBeAg positive, Anti-HBc IgM negative, Anti-HBc total positive, Anti-HBe negative, Anti-HBs negative a) Chronic HBV infection, high infectibility b) Chronic HBV infection, low infectibility c) Acute HBV infection d) Immunity to HBV 35) จงแปลผล: HBsAg positive, HBeAg positive, Anti-HBc IgM positive, Anti-HBc total positive, Anti-HBe negative, Anti-HBs negative a) Chronic HBV infection, high infectibility b) Chronic HBV infection, low infectibility c) Acute HBV infection d) Immunity to HBV 36) marker เป็น protective antibody ต่อการติดเชื้อ HBV คือข้อใด a) Anti-HBC IgM b) Anti-HBe c) Anti-HBs d) Anti-HBc total 37) การตรวจผู้ป่วยติดเชื้อ HIV ในทารกแรกคลอด ควรตรวจ marker อะไร a) HIV DNA PCR b) Anti-HIV c) p24 Ag d) Anti-HIV และ p24 Ag 38) ในการตรวจผู้ป่วยติดเชื้อ HIV ในผู้ใหญ่และเด็กมากกว่า 24 เดือน ถ้า A1: non reactive ควรทำอย่างไรต่อไป (ตามแนวทางการตรวจการวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวีและการตรวจติดตามการรักษาปี 2563) a) สามารถรายงานผล HIV Ag/Ab negative หรือ Anti-HIV negative b) ตรวจซ้ำด้วยวิธิเดิมเพื่อยืนยันผล HIV Ag/Ab negative c) ตรวจด้วยชุดตรวจที่มีหลักการแตกต่างกันอีก 2 ชุดตรวจ d) ตรวจด้วยชุดตรวจที่มีแอนติเจนแตกต่างกันอีก 2 ชุดตรวจ 39) ในการตรวจผู้ป่วยติดเชื้อ HIV ในผู้ใหญ่และเด็กมากกว่า 24 เดือน ถ้า A1: reactive ควรทำอย่างไรต่อไป (ตามแนวทางการตรวจการวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวีและการตรวจติดตามการรักษาปี 2563) a) สามารถรายงานผล HIV Ag/Ab negative หรือ Anti-HIV negative b) ตรวจซ้ำด้วยวิธิเดิมเพื่อยืนยันผล HIV Ag/Ab negative c) ตรวจด้วยชุดตรวจที่มีหลักการแตกต่างกันอีก 2 ชุดตรวจ d) ตรวจด้วยชุดตรวจที่มีแอนติเจนแตกต่างกันอีก 2 ชุดตรวจ 40) ในการตรวจผู้ป่วยติดเชื้อ HIV ในผู้ใหญ่และเด็กมากกว่า 24 เดือน หากผล Anti-HIV “inconclusive” ต้องทำอย่างไร (ตามแนวทางการตรวจการวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวีและการตรวจติดตามการรักษาปี 2563) a) นัดมาตรวจซ้ำที่ 2 สัปดาห์ b) นัดมาตรวจซ้ำที่ 2 สัปดาห์ และหรือ 1 เดือน 41) การทดสอบที่ใช้ในการติดตามผลการรักษาผู้ป่วย AIDs มีอะไรบ้าง a) Viral load , CD 4+ count , drug resistance test b) Proviral DNA, CD4+ cell count, CD8+ cell count c) Qualitative HIV RNA, p24 Ag, gp120/gp160 Ag d) p24 Ag, Anti-HIV1, Anti-HIV2 42) ในการตรวจ CD 4+ count ด้วยวิธี lymphocyte immunophenotyping กรณีเซลล์ helper T cell จะย้อมติดสี marker ใดบ้าง a) CD3, CD4 b) CD4, CD8 c) CD4, CD19 d) CD4, CD56

Clinical Immunology (Infectious Disease)

Bestenliste

Visueller Stil

Einstellungen

Vorlage ändern

Soll die automatisch gespeicherte Aktivität wiederhergestellt werden?