1) สัทธรรมมีกี่อย่าง a) ๑ b) ๒ c) ๓ d) ๔ 2) พระบาลี และอรรถกถา ได้แก่ข้อใด a) ปริยัติสัทธรรม b) ปฏิบัติสัทธรรม c) ปฏิเวธสัทธรรม d) ไม่มีข้อถูก 3) การรักษาศีล การถือธุดงค์ การเจริญสมถกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน ได้แก่ข้อใด a) ปริยัติสัทธรรม b) ปฏิบัติสัทธรรม c) ปฏิเวธสัทธรรม d) ไม่มีข้อถูก 4) มรรค ผล นิพพาน ฌาน อภิญญา ได้แก่ข้อใด a) ปริยัติสัทธรรม b) ปฏิบัติสัทธรรม c) ปฏิเวธสัทธรรม d) ไม่มีข้อถูก 5) ข้อใดแสดงธรรมชาติของจิต a) เป็นธรรมชาติ ที่รู้อารมณ์ b) เป็นธรรมชาติ ที่อาศัยจิตเกิด c) เป็นธรรมชาติ ที่มีการผันแปร เปลี่ยนแปลงสลายไป d) เป็นธรรมชาติที่สงบ จากรูปนามขันธ์ ๕ 6) ข้อใดแสดงธรรมชาติของเจตสิก a) เป็นธรรมชาติ ที่รู้อารมณ์ b) เป็นธรรมชาติ ที่อาศัยจิตเกิด c) เป็นธรรมชาติ ที่มีการผันแปร เปลี่ยนแปลงสลายไป d) เป็นธรรมชาติที่สงบ จากรูปนามขันธ์ ๕ 7) ข้อใดแสดงธรรมชาติของรูป a) เป็นธรรมชาติ ที่รู้อารมณ์ b) เป็นธรรมชาติ ที่อาศัยจิตเกิด c) เป็นธรรมชาติ ที่มีการผันแปร เปลี่ยนแปลงสลายไป d) เป็นธรรมชาติที่สงบ จากรูปนามขันธ์ ๕ 8) ข้อใดแสดงธรรมชาติของนิพพาน a) เป็นธรรมชาติ ที่รู้อารมณ์ b) เป็นธรรมชาติ ที่อาศัยจิตเกิด c) เป็นธรรมชาติ ที่มีการผันแปร เปลี่ยนแปลงสลายไป d) เป็นธรรมชาติที่สงบ จากรูปนามขันธ์ ๕ 9) ธรรมชาติของจิต แสดงบาลีโดยเฉพาะ คือข้อใด a) อารมฺมณ วิชานนลกขฺณํ b) จิตฺตนิสฺ สิตลกฺขณํ c) รุปฺปนลกฺขณํ d) สนฺติลกฺขณํ 10) ธรรมชาติของเจตสิก แสดงบาลีโดยเฉพาะ คือข้อใด a) อารมฺมณ วิชานนลกขฺณํ b) จิตฺตนิสฺ สิตลกฺขณํ c) รุปฺปนลกฺขณํ d) สนฺติลกฺขณํ 11) ธรรมชาติของรูป แสดงบาลีโดยเฉพาะ คือข้อใด a) อารมฺมณ วิชานนลกขฺณํ b) จิตฺตนิสฺ สิตลกฺขณํ c) รุปฺปนลกฺขณํ d) สนฺติลกฺขณํ 12) ธรรมชาติของนิพพาน แสดงบาลีโดยเฉพาะ คือข้อใด a) อารมฺมณ วิชานนลกขฺณํ b) จิตฺตนิสฺ สิตลกฺขณํ c) รุปฺปนลกฺขณํ d) สนฺติลกฺขณํ 13) เมื่อว่าโดยสรุปแล้ว ธรรมชาติของจิตนั้นมีอยู่  ๓  ประการ คือ ข้อใด a) มีการรับอารมณ์ อยู่เสมอ b) เป็นเหตุให้เจตสิก ทั้งหลายรู้ อารมณ์ได้คล้ายๆ กับผู้นำ c) ทำให้สิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต วิจิตรพิสดาร d) ถูกทุกข้อ 14) "ตตฺถ จิตฺตํ ตาว จตุพฺพิธํ โหติ กามาวจรํ รูปาวจรํ อรูปาวจรํ โลกุตฺตรญฺเจติ" แปลความว่าอย่างไร a) จิต มี ๔ ประเภท คือ b) กามาวจรจิต รูปาวจรจิต c) อรูปาวจรจิต โลกุตตรจิต d) รวมทั้งข้อ ก ข และ ค 15) ในจำนวนจิตโดยย่อ ๘๙ โดยพิสดาร ๑๒๑ นั้น ผิดกันที่ตรงไหน a) ผิดกันที่โลกุตตรจิต b) คือในจิตโดยย่อนั้น โลกุตตรจิต มี ๘ c) ในจิตโดยพิสดารนั้น โลกุตตรจิต มี ๔๐ d) รวมทั้งข้อ ก ข และ ค 16) ฌานจิต ที่มีองค์ฌาน ๒ นั้น มีจำนวนเท่าใด a) ๒๒ b) ๓๓ c) ๓๔ d) ไม่มีข้อถูก 17) ข้อใด ไม่ใช่ ฌานจิตที่มีองค์ฌาน ๒ a) ตติยฌานจิต ๑๑ b) จตุตถฌานจิต ๑๑ c) ปัญจมฌานจิต ๒๓ d) ไม่มีข้อถูก 18) “สมฺปยุตฺตํ” มีกี่อย่าง a) ๓ b) ๔ c) ๕ d) ๖ 19) จิตที่ประกอบด้วยโทสะ คือ ความโกรธ คือความหมายของข้อใด a) ทิฏฺฐิคตสมฺปยุตฺตํ b) ปฏิฆสมฺปยุตฺตํ c) วิจิกิจฺฉาสมฺปยุตฺตํ d) อุทฺธจฺจสมฺปยุตฺตํ 20) "ปฏิฆสมฺปยุตฺตํ" คือ จิตที่ประกอบด้วยข้อใด a) ทิฏฐิ คือ ความเห็นผิด b) วิจิกิจฉา คือ ความสงสัย c) สติ คือ ความระลึกได้ d) โทสะ คือ ความโกรธ 21) "ญาณสมฺปยุตฺตํ" คือ จิตที่ประกอบด้วยข้อใด a) ทิฏฐิ คือ ความเห็นผิด b) อุทธัจจะ คือ ความฟุ้งซ่าน c) สติ คือ ความระลึกได้ d) ปัญญา คือ ความรู้ 22) “สหคตํ” มีกี่อย่าง a) ๒ b) ๓ c) ๔ d) ๕ 23) จิตที่เกิดพร้อมด้วยโสมนัสเวทนา คือ ความดีใจ คือข้อใด a) โสมนสฺสสหคตํ b) อุเปกฺขาสหคตํ c) โทมนสฺสสหคตํ d) สุขสหคตํ 24) "ทุกฺขสหคตํ" คือ จิตที่เกิดพร้อมด้วยข้อใด a) อุเบกขาเวทนา คือ ความเฉย ๆ b) โทมนัสเวทนา คือ ความเสียใจ c) ทุกขเวทนา คือ ความทุกข์กาย d) สุขเวทนา คือ ความสุขกาย 25) จิตที่ไม่มีคำว่า ญาณสมฺปยุตฺตํ แต่นับเข้าใน ญาณสัมปยุตต์ได้นั้น มีจำนวนเท่าใด a) ๒๔ b) ๒๗ c) ๔๐ d) ๖๗ 26) ข้อใด ไม่ใช่ จิตที่ไม่มีคำว่า ญาณสมฺปยุตฺตํ แต่นับเข้าใน ญาณสัมปยุตต์ได้ a) กามาวจรโสภณจิต ๒๔ b) มหัคคตจิต ๒๗ c) โลกุตตรจิต ๔๐ d) ไม่มีข้อถูก 27) จิตที่ไม่มีคำว่า ปัญจมฌาน แต่สงเคราะห์เข้าในปัญจมฌานได้นั้น คือข้อใด a) รูปาวจรจิต ๑๕ b) อรูปาวจรจิต ๑๒ c) มหัคคตจิต ๒๗ d) โลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐ 28) จากข้อ ๒๗ การที่นับสงเคราะห์เข้าในปัญจมฌานเช่นนี้ได้นั้นก็เพราะมีองค์ฌาน ๒ เท่ากัน คือข้อใด a) สุข เอกัคคตา b) อุเบกขา เอกัคคตา c) สุข อุเบกขา d) ไม่มีข้อถูก 29) โสภณจิตที่เป็นอุเบกขาด้วย วิปปยุตต์ด้วย สสังขาริกด้วย มี ๓ ดวง คืออะไรบ้าง a) มหากุศลจิต ดวงที่ ๘ b) มหาวิปากจิต ดวงที่ ๘ c) มหากริยาจิต ดวงที่ ๘ d) ถูกทุกข้อ  30) ในบรรดาฌานจิต ๖๗ เป็นกุศลชาติเท่าใด วิปากชาติเท่าใด กริยาชาติเท่าใด a) กุศลชาติ ๒๙ b) วิปากชาติ ๒๙ c) กริยาชาติ ๙ d) ถูกทุกข้อ

(จิตปรมัตถ์) ข้อสอบสัมภาษณ์ จูฬตรี ปี ๒๕๕๘ - ๒๕๖๒

Tabla de clasificación

Estilo visual

Opciones

Cambiar plantilla

¿Restaurar actividad almacenada automáticamente: ?